งานวิจัยของ Manopimoke et al. (2024) ศึกษาบทบาทของอัตราแลกเปลี่ยนใน 10 ประเทศตลาดเกิดใหม่ในเอเชียและละตินอเมริกา โดยพบว่า ค่าเงินของประเทศในกลุ่มตัวอย่างถูกขับเคลื่อนโดยปัจจัยที่ไม่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางเศรษฐกิจเป็นหลัก (เช่น การเก็งกำไรระยะสั้นของนักลงทุน หรือความผันผวนที่เกิดขึ้นในตลาดการเงินโลก) และความผันผวนของค่าเงินที่เกิดขึ้นนั้นส่งผลต่อเศรษฐกิจและเงินเฟ้อค่อนข้างจำกัด
.
นอกจากนี้ เวลาที่ค่าเงินเคลื่อนไหวไปตามปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเมื่อเกิด shock ต่ออุปสงค์รวม (demand shock) และ shock ที่มาจากภายนอกประเทศ (global shock) การเคลื่อนไหวของค่าเงินจะมีส่วนช่วยลดความผันผวนของเศรษฐกิจลงได้
คลิก
Cr.Bank’s Scholarship Students
————————————————————————————-
เพิ่มเพื่อนรับข่าวสารตลาดหุ้น Forex และบทความดีๆ ด้านการเงิน การลงทุน ฟรี !!
http://line.me/ti/p/%40zhq5011b
Line ID:@fxhanuman
Web : https://www.fxhanuman.com
Web : https://www.eluforex.com/
FB:https://www.facebook.com/review.forex.broker/
เยี่ยมชม partner ของเราที่ Eluforex รีวิวโบรกเกอร์ Forex
#forex #ลงทุน #peppers #xm #fbs #exness #icmarkets #avatrade #fxtm #tickmill #fxpro #fxopen #fxcl #forex4you